เมื่อพ.ศ. 2467 สมเด็จกรมพระยาดำรงค์ราชานุภาพสภานายกหอพระสมุทรวชิรญาณสำหรับพระนคร ได้โปรดจัดหนังสือเรื่องโครงนิราศสุพรรณของท่านสุนทรภู่ให้มหาเสวกโท พระยาสวรรณสิริ (ทองดี สุวรรณศิริ)พิมพ์เป็นครั้งแรกใจในโอกาสที่ได้รับพระมหากรุณาที่คุณโปรดเกล้าให้เป็นพยายืนชิงช้าโครงนิราศสุพรรณที่พิมพ์ในคราวนั้นพิมพ์ไว้ตอนท้ายว่าจบบริบูรณ์ซึ่งมีโครงทั้งหมดเพียง 241 บท เข้าใจว่าในครั้งนั้นคงจะพบต้นฉบับโครงนิราศสุพรรณของท่านสุนทรภู่แต่เพียงหนึ่งเล่ม สมุดไทยครั้นเมื่อพ.ศ. 2504 เจ้าหน้าที่กองหอสมุดแห่งชาติกรมศิลปากรได้พบต้นฉบับโครงนิราศสุพรรณของท่านสุนทรภู่เพิ่มขึ้นอีกสองเล่มสมุดไทยมีบทโครงเพิ่มขึ้นและดำเนินความต่อไปอีก 221 บทรวมกับโครงนิราศที่หอพระสมุทรให้พิมพ์ไว้ก่อนแล้ว 241 บทจึงเป็น 462 บทสมุดไทยที่พบใหม่นี้ เป็นสมุดไทยดำ เขียนด้วยดินสอขาวลายมือเดียวกันกับลายมือในสมุดไทยเล่มหนึ่งใจความก็ต่อกันสนิทเจ้าหน้าที่จึงได้คัดและตรวจสอบชำระขึ้นไว้บัตรนี้เจ้าหน้าที่ในกองหอสมุดแห่งชาติแล้วก็วรรณคดีและประวัติศาสตร์กรมศิลปากรจะจัดกิจกรรมเนื่องในวันคล้ายวันเกิดของสุนทรภู่ ระหว่างวันที่ 26 มิถุนายนถึง 31 กรกฎาคมพ.ศ. 2510จึงมีความเห็นร่วมกันจัดพิมพ์โครงนิราศสุพรรณของท่านสุนทรภู่ออกเผยแพร่ เพื่อเป็นที่ระลึกและประกาศเกียรติคุณของท่านมหากวีเอก ต้นฉบับสมุดไทย เรื่องโครงนิราศสุพรรณที่มีอยู่หน้าหอสมุดแห่งชาติกรมศิลปากรนี้ถ้าไม่ใช่ลายมือของท่านสุนทรภู่เองอาจจะเป็นลายมือเสมียนเขียนตามคำบอกของท่านก็ได้เพราะปรากฏว่ามีรอยลบแก้ใหม่ตลอดจนตกเดิมมากมายหลายแห่งจึงพิมพ์ตามอักขรวิธีในต้นฉบับสมุดไทย เพื่อให้ท่านผู้อ่านได้ศึกษาวิธีเขียนสะกดการันต์และเสียงอ่านเสียงพูดที่เคยใช้กันมาในสมัยโบราณเพราะในสมัยที่ยังไม่มีพจนานุกรมเป็นหลักการเขียนเช่นในปัจจุบันคนส่วนมากยังเขียนหนังสือตามสำเนียงที่พูดและออกเสียงแต่ขำที่ลักลั่นมากก็พยายามทำเชิงอรรถเทียบความปัจจุบันไว้ด้วย ปรากฏว่ามีความเป็นอันมากที่เขียนตามเสียงพูดเช่น ผกาเขียนเป็นพกา , จมูก เขียนเป็น ตมูก , บุปผชาติ เขียนเป็น บุพชาติ , ชิงช้า เขียนเป็นซิ่งช้า , จะร้องเขียนเป็นจร้อง , ชาวประมงเขียนเป็นเชาปมง , อายุวัฒนะเขียนเป็นอายุวันชนะ , สุพรรณบุรีเขียนเป็นสูพัน หรือสุพันบุรี เป็นต้น นอกจากนั้นก็มีความที่พยายามเขียนให้ได้เอกโทตามลักษณะบังคับของการแต่งโครงอีกมากซึ่งท่านผู้อ่านจะศึกษาได้จากฉบับพิมพ์นี้ โครงนิราศสุพรรณของท่านสุนทรภู่ที่หอพระสมุดเคยพิมพ์มาแล้วมีใจความตั้งแต่ท่านสุนทรภู่ออกเดินทางไปสุพรรณบุรีเพื่อหาแร่หรือท้านเรียกว่าปรอท หรือปูนเพชรซึ่งเชื่อว่าเป็นแร่ที่ทำให้กลายเป็นทองได้และมีอยู่ในจังหวัดสุพรรณบุรีจากโครงบทที่สองแสดงว่าขณะนั้นท่านสุนทรภู่ยังคงบวชเป็นพระภิกสุ และจำพรรษาอยู่ณวัดเทพธิดารามผมจะเดินทางจากวัดลงเรือไป สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพได้ทรงอธิบายไว้ในคำนำโครงนิราศสุพรรณครั้งที่ตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อพ.ศ. 2467 ว่าเหตุที่สุนทรภู่ไปเมืองสุพรรณคราวที่แต่งนิราศนั้นความรักคนในเรื่องนี้ราษว่าไปหาแร่ทำนองจะเล่นแร่แปรธาตุเอง หรือมิฉะนั้นก็ไปหาแร่ให้ผู้อื่นที่เล่นแปลธาตุเพราะเชื่อกันว่าที่ไหนจังหวัดแขวงสุพรรณมีแร่อย่างใดอย่างหนึ่งส่งคุณวิเศษสำหรับใช้แปลธาตุพวกเล่นแร่แปรธาตุยังเชื่อกันมาจนทุกวันนี้สุนทรภู่ไปครั้งนี้พาบุตรไปด้วยทั้งสองคน แลมีสิทธิ์ไปด้วยก็หลายคนลงเรือที่ทาวัดเทพธิดาผ่านมาทางคลองมหานาคเมื่อถึงวัดสระเกศกล่าวความว่าอะไรเวลานั้นมันดาเพิ่งตายศพยังฟังอยู่ที่วัดนั้นแล้วลงเรือไปออกปากคลองโอ่งอ่าง เมื่อไปถึงเมืองสุพรรณได้ขึ้นไปทางลำน้ำข้างเหนือเมืองไปขึ้นเดือนบุ๊คไว้ที่วังหินเที่ยวหาแรกแล้วกับลงเรือที่บ้านถึงวันที่พรรณนาในนิราศดูในเขตแขวงจังหวัดสุพรรณในสมัยนั้นยังเปลี่ยวมาก ทางข้างใต้แล้วฝ่ายเหนือเมืองถึงไปป่ะเสือตามใกล้ใกล้ลำแม่น้ำแต่แรกที่เจอไปหาได้หรือไม่ได้หาได้กล่าวถึงไม่เรื่องตำนานนี้ราษโครงของสุนทรภู่มีดังกล่าวมา ตามที่สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงอธิบายไว้ว่าแต่แรกที่จะไปหาจะได้หรือไม่ได้หาได้กล่าวถึงไม่ นั้นเพราะในครั้งนั้นได้พบต้นฉบับสมุดไทยโครงนิราศสุพรรณแปดเล่มหนึ่งเพียงเล่มเดียวและโครงบทสุดท้ายของสมุดไทยเล่มหนึ่งคือบทที่ 241 จบลงเพียงตอนสุนทรภู่กับคณะอำลาสองตายายชื่อตาทงกับยายนาคอายุ 120 กว่าปีด้วยความอาลัยเท่านั้น ส่วนโครงนิราศสุพรรณที่กรมศิลปากรพบต่อไปอีกสองเล่มสมุดไทยช่วยให้ได้ความรู้เกี่ยวกับการที่ท่านสุนทรภู่ไปสุพรรณบุรีครั้งนั้นอย่างสมบูรณ์กล่าวคือไปแล้วไม่ได้แร่สำเริงได้รับความลำบากยากเข็ญต้องผจญภัยต่างๆนาๆในป่าแทบเอาตัวไม่รอดเช่น ต้องเข้าไปอยู่ในดงว่านพิษและไปพบโขลงช้างอาละวาดเป็นต้น การเดินทางไปสุพรรณบุรีของท่านสุนทรภู่ครั้งนั้นเข้าใจว่ามีลูกชายและลูกเรื่องเดินทางไปด้วยอย่างน้อยสี่คนมีชื่อตามที่ปรากฏในนิราศนี้คือพัดลูกที่เกิดจากจัน ดาบลูกที่เกิดจากนิ่ม กลั่นและชุบลูกเลี้ยง นอกจากนั้นก็มีนายโรจน์คนนำทางซึ่งคงจะออกเดินทางไปด้วยตั้งแต่กรุงเทพคณะของท่านสุนทรภู่เดินทางรอนแรมไปทางเรือโดยเข้าทางคลองบางกอกน้อยไปจนถึงสุพรรณบุรีแล้วขึ้นเดินบุกดังที่ปรากฏในพระราชนิพนธ์อธิบายของสมเด็จ กรมพระยาดำรงราชานุภาพที่ยกมาอ้างข้างต้นแล้วเมื่อไปถึงหมู่บ้านกะเหรี่ยงก็ได้พบกันเรื่องชื่อกวั่ง นำทางไปในหมู่บ้านกะเหรี่ยงชาวบ้านได้เลี้ยงอาหารด้วยไมตรีจิตท่านสุนทรภู่จากลูกปัดอันเป็นของที่พวกกะเหรี่ยงพอใจทั่วกันถึงตอนนั้นไม่กล่าวถึงในรถเลยเข้าใจว่าเมื่อขึ้นบกแล้วแยกทางกับนายรอดหรือในรถอัดเสียงไปด้วยแต่ไม่มีบทบาทให้กล่าวถึงอาจเป็นได้ พรุ่งนี้ล่าสุ 1000 ของสุนทรภู่จบบริบูรณ์ลงในบทที่ 462 ดังที่พิมพ์ไว้ในเล่มนี้แล้วนอกจากจะมีความไพเราะซาบซึ้งและให้ความสนุกเพิร์ธเพลินตามท้องเรื่องแล้วโครงนิราศสุพรรณนี้ยังช่วยให้เราได้ทราบรายละเอียดในการเดินทางไปสุพรรณบุรีของท่าน ซึ่งจะได้ประโยชน์ในการศึกษาชีวประวัติของท่านเพิ่มเติมอีกด้วยนอกจากนี้ที่สำคัญก็คือได้ช่วยให้ผู้ที่ยังหลงใหลในเรื่องเล่นเเร่เเปรธาตุ และหายยาอายุวัฒนซึ่งปัจจุบันนี้ก็ยังมีผู้เชื่อว่ามีได้ทราบว่าเรื่องดังกล่าวเป็นเรื่องเหลวไหลไร้สาระดังท่านสุนทรภู่ได้แถลงไว้ชัดเจนแล้วในโครงนิราศสุพรรณของท่านเรื่องนี้ อนึ่ง เพื่อให้ท่านผู้อ่านสามารถสร้างจินตนาการตามระยะเดินทางของสุนทรภู่กรมศิลปากรจึงได้ให้เจ้าหน้าที่จัดทำคำอธิบายเกี่ยวกับสถานที่ตามที่ปรากฏในเส้นทางเดินพร้อมทั้งทำแผนที่สังเขปแสดงระยะทางประกอบขึ้นไว้ตั้งได้พิมพ์ไว้ในตอนท้ายของโครงนิราศนี้ ณ อภิลักขิต สมัยคล้ายวันเกิดของท่านสุนทรภู่เวียนมาบรรจบในวันที่ 26 มิถุนายนศกนี้อีกครั้งหนึ่งกรมศิลปากรขอเชิญชวนท่านที่เคารพทั้งหลายโปรดรวมใจน้อมคารวะระลึกถึงกิตติคุณยอลสูงส่งของท่านมหากวีเอกซึ่งได้สร้างสมบัติวรรณกรรมอันไพเราะเพราะพริ้งและหาค่ามิได้ไว้เป็นมรดกสำคัญของชาติไทยและเป็นเครื่องประดับใจของอนุชนทุกยุคทุกสมัยชั่วนิรันดร์
< หน้าหลัก / หนังสือหายากอิเล็กทรอนิกส์ / โคลงนิราศสุพรรรณ ของสุนทรภู่ฉบับสมบูรณ์ >
โคลงนิราศสุพรรรณ ของสุนทรภู่ฉบับสมบูรณ์
เนื้อหาอย่างย่อ
หมวด: หนังสือหายาก
หมวดรอง: -
วันที่รับเข้า: 29/03/2018