พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระนครเป็นสถาบันที่ดำเนินการต่อสืบเนื่องมาจากพิพิธภัณฑสถานสำหรับพระนครซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดให้จัดตั้งขึ้นณศาลาสหทัยสมาคมในพระบรมมหาราชวังเมื่อพ.ศ. 2417 และยังเรียกในสมัยนั้นว่า Museum ภายหลังโปรดให้ย้ายมาตั้งในพระที่นั่ง 3 องค์ก่อนหน้าในพระราชวังบวรสถานมงคล เมื่อพ.ศ. 2430 ครั้งในรัชกาลที่ 7 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดให้ตั้งพระราชบัญฑิตยสถานขึ้นเมื่อวันที่ 19 เมษายนพ.ศ. 2469 และโปรดเกล้าให้สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงดำรงตำแหน่ง นายกราชบัณฑิตยสภาแล้วพระราชทานพระราชมณเฑียรสถานตลอดทั้งบริเวณพระราชวังบวรสถานมงคลตอนเหนือ ให้เป็นที่จัดตั้งพิพิธภัณฑ์สถานและหอพระสมุดสำหรับพระนครขึ้นในสังกัดราชบัณฑิตยสภาเมื่อพ.ศ.2496 ราชบัณฑิตยสภาในสมัยนั้นได้ปฏิสังขรณ์และปรับปรุงพระที่นั่งและหมู่พระวิมานที่มีอยู่เดิมแก้ไขใช้เป็นหอพระสมุดวชิรญาณและพิพิธภัณฑ์สถานแห่งพระนครเสร็จแล้วพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินมาทรงทำพิธีเปิดเนื่องในงานเฉลิมพระชนมพรรษาเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายนพ.ศ.2496 นอกจากพระที่นั่งและหมู่พระวิมานเป็นปฏิสังขรณ์แก้ไขไว้ บรรดาอาคารที่สร้างเพิ่มเติมขึ้นใหม่เช่นโรงเก็บศิลปะโบราณวัตถุและโรงงานก็ดีที่เก็บตู้ลายรดน้ำและเอกสารสั่งพิมพ์สิ่งพิมพ์ที่เหลือบริการซึ่งเรียกกันว่าครั้งที่สุดก็ดีล้วนเป็นอาคารเรือนไม้มีสร้างเป็นอาคารถาวรก็แต่โรงราชรถขันล่วงมาประมาณ 30 ปีเมื่อได้ศิลปะวัดโบราณวัตถุเพิ่มเติมมามากขึ้นก็ตั้งแสดงไว้อย่างแออัดจนไม่สู้น่าดูและมักได้รับคำต่อว่าต่อขานจากท่านผู้รู้ทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ ทั้งบรรดาพระที่นั่งกับหมู่พระวิมานและอาคารที่สร้างเพิ่มเติม เติมไว้นั้นก็ทรุดโทรมถึงเวลาที่จะต้องปฏิสังขรณ์ หรือสร้างใหม่เช่นพระที่นั่งศิวโมกขพิมานซึ่งจัดเป็นหอพระสมุดวชิรญาณนั้นสมัยหนึ่ง นายช่างคำนวณว่าถ้าไม่ปฏิสังขรณ์อาจทรุดพังยุบลงมา แต่สมัยนั้นไม่มีงบประมาณจากปฏิสังขรณ์จึงใช้วิธีเอาไม้แก่นมาค้ำยันจนดูแลเกะระกะไปหมดเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานและผู้ที่เข้าศึกษาค้นคว้าต้องเดินก้มก้มเงยเงยลอดไม้ค้ำยันและเป็นเช่นนั้นอยู่หลายปีกว่าจะได้รับงบประมาณปฏิสังขรณ์ต่อมาเมื่อได้จัดตั้งโรงเรียนนาฏดุริยางคศาสตร์ขึ้นในพ.ศ. 2477 ก็ใช้หมู่พระที่นั่งอิศเรศราชานุสรณ์กับบริเวณวัดบวรสถานสุทธาวาสซึ่งเป็นบริเวณส่วนหนึ่งของพิพิธภัณฑ์สถาน ฯ นั่นเองเป็นที่ตั้งของโรงเรียนแล้วสร้างโรงละครศิลปากรซึ่งเป็นโรงไม้ขึ้นไว้ระหว่างพระที่นั่งศิวโมกขพิมานและหอประชุมมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์บัดนี้บริเวณพระพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติพระนครจึงเป็นที่ตั้งของหน่วยราชการหลายหน่วยเช่นหอพระสมุดวชิรญาณซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของหอสมุดแห่งชาติพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติพระนครและโรงเรียนนาฏดุริยางภาษาซึ่งต่อมาเป็นโรงเรียนนาฏศิลป์กองการสังคีตแล้วแยกแบ่งบางส่วนไปสังกัดกองศิลปศึกษาเหมือนเมื่อจะปรับปรุงพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติพระนครให้ถูกต้องตามหลักวิ ชาการจัดพิพิธภัณฑ์สถานในปัจจุบันซึ่งเป็นงานใหญ่พระจันทร์ต้องปรับปรุงหน่วยราชการต่างๆดังกล่าวข้างต้นไปพร้อมกันด้วยการปรับปรุงทางด้านวัตถุนั้นไม่สู้จะเป็นภาระเท่าการปรับปรุงทางด้านจิตใจเพราะสมัยก่อนคนส่วนมากยังไม่ค่อยจะเห็นความสำคัญของพิพิธภัณฑ์สถานเมื่อคนส่วนมากยังไม่สู้จะเห็นความสำคัญการที่จะได้ส่งมติสนับสนุนก็ดีการที่จะเสนอของบประมาณก่อสร้างและปรับปรุงจากรัฐบาลก็ดีเป็นงานที่ยากเย็นแสนเข็ญยากเย็นลำเค็ญใจและเปลืองกําลังความคิดเป็นที่สุดแต่ก็มีโชคดีอยู่บ้างที่คณะรัฐมนตรีในครั้งนี้ นั้นได้โปรดมอบตึก 3 หลังพร้อมทั้งบริเวณของกระทรวงคมนาคมเดิมตรงที่เป็นบริเวณโรงละครแห่งชาติบัดนี้ให้เป็นของกรมศิลปากรเมื่อพ.ศ. 2497 ซึ่งในระยะแรกได้ให้ยืมใช้ เป็นที่ตั้งโรงเรียนเตรียมมหาวิทยาลัยศิลปากรและต่อมาเปลี่ยนเป็นโรงเรียนช่างศิลปะชั้นเริ่มสร้างโรงละครแห่งชาติขึ้นในบริเวณนั้นจึงได้ก่อสร้างอาคารโรงเรียนช่างศิลปะขึ้นใหม่อยู่ภายในบริเวณเดียวกันกับโรงเรียนนาฏศิลป์เช่นที่เป็นอยู่ในบัดนี้แล้วต่อมาคณะหม่อมหลวงปิ่นมาลากุลรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการได้โปรดแนะให้ทำกระจก ฉายคติพจน์แสดงประโยชน์ของหอสมุดและพิพิธภัณฑ์สถานไปฉายตามโรงภาพยนตร์ซึ่งดูเหมือนต่อแต่นั้นมาจึงค่อยได้รับการสนับสนุนทางด้านประชามติและงบประมาณขึ้นบ้างจึงช่วยให้การปรับปรุงและจัดสร้างอาคารพิพิธภัณฑ์สถานและอาคารหอสมุดแห่งชาติตลอดจนโรงละครแห่งชาติค่อยสะดวกขึ้นแต่การก่อสร้างโรงละครแห่งชาตินั้นสํานักนายกรัฐมนตรีได้เข้าช่วยโอบอุ้มและรับภาระดำเนินการดังปรากฏในรายการรายงานการก่อสร้างโรงละครแห่งชาติของประธานกรรมการก่อสร้างซึ่งกล่าวรายงานเสนอคณะท่านนายกรัฐมนตรีในพิธีเปิดแล้วนั้นงานที่กรมศิลปากรในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการจำต้องดำเนินการยังคงมีอยู่ แต่สร้างและปรับปรุงพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติหอสมุดแห่งชาติและโรงเรียนนาฏศิลป์กับโรงเรียนช่างศิลปและย้ายกองการสังคีตออกไปนอกบริเวณพิพิธภัณฑ์สถานซึ่งต่อมาการก่อสร้างโรงละครแห่งชาติได้สิทธิ์ลงและคณะ นายกรัฐมนตรีได้มาทำพิธีเปิดเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2508 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถได้เสด็จพระราชดำเนินทอดพระเนตรการแสดงนาฏศิลป์ในรอบปฐมทัศน์ในข้าววันนั้นด้วยและกรมศิลปากรก็ได้ย้ายกองการสังคีตออกจากพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติพระนครไปอยู่รณอาคารด้านซ้ายของโรงละครแห่งชาติส่วนอาคารหอสมุดแห่งชาติที่ท่าวาสุกรีถนนสามเสนก็ได้ก่อสร้างเสร็จ แล้วจัดการขนย้ายหนังสือจากหอสมุดหน้าวัดมหาธาตุไปยังอาคารหอสมุดท่าวาสุกรีและย้ายสินศิลาจารึกกับตู้ลายรดน้ำบางส่วนจากพระที่นั่งศิวโมกขพิมานไปไว้ที่หอสมุดหน้าวัดมหาธาตุบ้างกับย้ายหนังสือตัวเขียนและตู้ลายรดน้ำบางส่วนไปไว้ในหอสมุดท่าวาสุกรีบ้างเมื่อบรรณารักษ์และเจ้าหน้าที่จัดแบ่งประเภทและจัดหมวดหนังสือข้าวที่เสร็จเรียบร้อยจึงได้กราบเรียนเชิญคณะรัฐมนตรีโปรดมาทำพิธีเปิดอาคารหอสมุดแห่งชาติท่าวาสุกรีเนื่องในวันพระราชพิธีฉัตรมงคลเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2509 แล้วหอสมุดแห่งชาติก็ได้เปิดให้บริการแก่ ชาชนต่อมาจนบัดนี้ส่วนการปรับปรุงพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติพระนครนั้นกรมศิลปากรก็ได้ดำเนินการมาโดยลำดับนับตั้งแต่พ. ศ. 2500 เป็นต้นมาแต่ทำได้เฉพาะในการเล็กๆน้อยๆเช่นสร้างประตูใหญ่ด้านหน้าพิพิธภัณฑ์สถานขึ้นใหม่โดยย้ายจากที่ตั้งเท่าเดิมตรงประตูพระที่นั่งว่าโง่ครับพิมานมาอยู่ในที่ปัจจุบันเมื่อภาษา 2500 และสร้างซ่อมแซมสร้างด้านหน้ากับถนนภายในตัวหน้าตอนหน้าและย้ายศาลาลงสระจากกลางสนามไปอยู่บริเวณไปในบริเวณสังเขป ศาลามาไว้ตรงริมประตูพิพิธภัณฑ์สถานและปรับปรุงซึ่งเป็นที่จำหน่ายหนังสือและของที่ระลึกส่วนการก่อสร้างตามโครงการที่กำหนดไว้มาเริ่มได้เมื่อพ.ศ.2506 เช่นย้ายพระตำหนักแดงจากทิศตะวันตกเฉียงเหนือด้านหลังหมู่พระวิมานมาตั้งทางทิศตะวันออกด้านใต้เช่นในปัจจุบันและสร้างอาคาร 2 ชั้นขึ้นสองแถวอบพระวิมานเดินทางด้านใต้และด้านเหนือ พร้อมกับปรับปรุงบริเวณทั่วไปทั้งไปปีพ.ศ.2508 เมื่อได้พิจารณาเห็นว่าการก่อสร้างอาคารใหม่ใกล้จะเสร็จเรียบร้อยและคงจะสามารถนำศิลปวัตถุและโบราณวัตถุเข้าจัดตั้งแสดงได้ในไม่ช้าจึงได้ติดต่อท่านผู้ชำนาญด้านโบราณคดีเชิญประชุมปรึกษาแล้วร้องขอร้องไห้แต่ละท่านช่วยเขียนเรื่องเกี่ยวกับศิลปะสมัยต่างๆตามลำดับสมัยเพื่อพิมพ์เผยแพร่เป็นความรู้และเป็นที่ระลึกในงานเปิดพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติพระนครดังนี้ คือ
นายชินอยู่ดีเขียนเรื่องสมัยก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
ศาสตราจารย์จ๊องบัวเซอร์เกเขียนเรื่อง ศิลปะสมัยทราวดี และสมัยศรีวิชัย
ศาสตราจารย์มจ. สุภัทรดิศดิศกุล เขียนเรื่องศิลปะสมัยลพบุรี
นายเอบีคริสวูเขียนเรื่องสมัยศิลปะสมัยสุโขทัย
นาย มานิตวัลลิโภดมเขียนเรื่อง ศิลปะสมัยอู่ทอง
นายตรีอมาตยกุล เขียนเรื่องศิลปะสมัยอยุธยา
น.ส. เอลิซาเบส ไลออนส์ เขียนเรื่องศิลปสมัยรัตนโกสินทร์
ซึ่งแต่ละท่านที่ออกพระนามและนามข้างต้นต่างก็รับช่วงเขียนด้วยความยินดี และเขียนมาด้วยดีเสียดายแต่ท่านหนึ่งซึ่งเป็นที่ประชุมได้พิจารณาเห็นเป็นผู้เหมาะสมและตรงกันเชิญให้เขียนเรื่องศิลปะสมัยเชียงแสนซึ่งก็บังเอิญท่านมีภารกิจมากในหน้าที่ของท่านจึงขอตัวไปและยังไม่ได้เชิญผู้ใดอื่นให้เขียนแทนและอีกท่านหนึ่งคือศาสตราจารย์บัวเซอร์เกท่านผู้นี้มีความตั้งใจจริงที่จะเขียนตามที่ได้รับเชิญไว้แต่ภายหลังที่ท่านเดินทางจากปารีสมาค้นคว้าโบราณวัตถุสถานในประเทศไทยปีละ 4 เดือนเป็นเวลา 3 ปีติดๆ กันและกลับไปเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2509 ก็ต้องประสบวิปโยคทุกข์เพราะมารดาถึงมรณกรรมและแล้วตัวท่านเองก็เกิด โรคพาทเบียดเบียน ซึ่งนายแพทย์ห้ามทำงานจนถึงกลางเดือนพฤษภาคมศกนี้แม้กระนั้นท่านก็ยังอุตสาหะเขียนเรื่องศิลปะสมัยทราวดี ส่งมาให้ได้ตอนหนึ่ง ยังไม่จบจึงยังมิได้จัดพิมพ์ในคราวนี้บัดนี้การก่อสร้างอาคารเพิ่มเติมและการจัดตั้งแสดงศิลปวัตถุและโบราณวัตถุทั้งสมัยก่อนประวัติศาสตร์และสมัยประวัติศาสตร์ในพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติพระนครเป็นที่เรียบร้อยแล้วข้าพเจ้าขอแสดงความขอบใจสถาปนิกและผู้ควบคุมงานก่อสร้างอาคารพิพิธภัณฑ์สถาน และผู้มีส่วนช่วยเหลือ และเป็นหัวเรี่ยวหัวแรงสำคัญทั้งในการออกแบบตกแต่งและจัดตั้งแสดงกล่าวคือนายชินอยู่ดีและนายวิทยา อินทโกศัยผู้จัดแสดงเรื่องก่อนประวัติศาสตร์ในพระที่นั่งศิวโมกขพิมานนางจิราจงกลผู้จัดตั้งแสดงศิลปโบราณวัตถุสมัยประวัติศาสตร์ในอาคารที่สร้างใหม่และในหมู่พระวิมานนายพิทักษ์สังขวัฒนะผู้ออกแบบตู้ จัดตั้งแสดงในห้องต่างๆและตกแต่งภายในพระที่นั่งพุทไธสวรรย์ขอขอบคุณหม่อมเจ้า สุภัทรดิศดิศกุลซึ่งโปรดเมตตาช่วยตรวจตาและ ทรงแนะนำเจ้าหน้าที่ในการจัดตั้งแสดงขอบคุณ ม.ร.ว.พันทิพย์บริพัตรซึ่งกรุณาช่วยตกแต่งและจัดตั้งแสดงในพระตำหนักแดงพร้อมทั้งช่วยตกแต่งบริเวณและขอแสดงความขอบคุณองค์กรศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมที่ได้เอื้อเฟื้อจัดส่งด็อกเตอร์เกรซมอเลย์ ผู้เชี่ยวชาญการจัดพิพิธภัณฑ์และ ดอกเตอร์โอพี อัครวาล ผู้เชี่ยวชาญการซ่อมศิลปะโบราณวัตถุมาช่วยจัดและช่วยซ่อมตลอดจนเห็นความ ให้ความเห็นแนะนำขอขอบคุณกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐโดยผ่านทางสำนักแถลงข่าวอเมริกันที่ได้โปรดส่งนางสาวเอลิซาเบธไลออนส์ให้เดินทางเข้ามาช่วยในการจัดตั้งและให้คำแนะนำในการจัดแสดงศิลปะโบราณวัตถุตราบจนช่วยเขียนเรื่องศิลปรัตนโกสินทร์และขอขอบคุณธนาคารประเทศไทยที่ได้โปรดอนุญาตให้นายเฉลิมวงศ์บุญเกิดมาช่วยให้คำแนะนำและจัดตั้งแสดงธนบัตรและเหรียญกษาปณ์ในห้องแสดงธนบัตรและเหรียญกษาปณ์ในที่สุดขอขอบพระทัยและขอบใจท่านผู้ทรงนิพนธ์และเขียนบทความเรื่องศิลปะสมัยต่างๆ ดังกล่าวพระนามและนามมาแล้วข้างต้นตลอดจนบรรดาข้าราชการในกรมศิลปากรและบุคคลภายนอกทุกท่านผู้ซึ่งได้ให้ความร่วมมือในการปรับปรุงและพัฒนาพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติพระนครให้สำเร็จลุล่วงมาด้วยดีอันหนึ่งขอได้โปรดทราบไว้ด้วยว่าการปรับปรุงพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติพระนครดังกล่าวมาแม้จะเห็นว่าได้ดำเนินการรู้ล่วงมาเป็นอันมากแล้วก็ตามแต่ก็แต่ที่จริงเป็นเพียงงานเริ่มต้นซึ่งจะต้องพัฒนาต่อไปตามหลักวิชาการโดยไม่หยุดยั้งเพราะการจัดพิพิธภัณฑ์สถานเป็นศาสตร์หรือวิชาการอย่างหนึ่งเรียกกันว่าMuseologyที่นักปราชญ์ทางวิชาการนี้ทั่วโลกได้ศึกษาค้นคว้าและนำความคิดเห็นใหม่ๆมาใช้ปรับปรุงแก้ไขให้ทันสมัยอยู่เสมอเพื่อให้เกิดประโยชน์ในการศึกษาค้นคว้าแก่ส่วนรวมยิ่งขึ้นจึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าตั้งแต่นี้ต่อไปการงานการพัฒนาพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติของเราคงจะสะดวกขึ้นและได้รับการสนับสนุนด้วยดีจากทุกฝ่ายโดยทั่วกัน