พระพุทธรูปศิลาขาว สมัยทวารวดี

เนื้อหาอย่างย่อ

จากการสำรวจขุดค้นทางโบราณคดีเราได้พบว่าที่วัดทุ่งพระเมรุ (ร้าง) ในบริเวณนันทอุทยานจังหวัดนครปฐม เคยมีพระพุทธรูปศิลาขาวขนาดใหญ่สมัยทวารวดีอยู่สี่อง และได้ค้นพบที่นครปฐมหนึ่งองคือที่นำมาประดิษฐานเป็นพระประธานในพระอุโบสถวัดพระปฐมเจดีย์ กลับได้พบชิ้นส่วนเป็นต้นว่าบัวรองพระบาท ข้อพระบาท พระชานุ พระหัตถ์ พระอังศา พระพาหาและพระหัตถ์บางส่วน เช่นนี้เคยนำมาเก็บไว้นะพระระเบียงคดด้านนอกแต่ก่อน แต่ได้ค้นพบพระองค์และพระเศียรสองเศียรกับชิ้นส่วนเพราะองคาพยพหลายชิ้นที่วัดพระยากง(ร้าง) ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาและพบที่วัดขุนพรหมในตำบลสำเภาล่ม อีกหนึ่งอง โดยเฉพาะพระเศียรสองเศียรในวัดพระยากง ได้มีผู้ถูกแปลกแยกออกจากการเป็นเสียละสองเสียง แล้วนำไปขายไว้ที่ร้านค้าของเก่าในเวิ้งนครเขษม เมื่อกรมศิลปากรได้ทราบเรื่องก็ติดตามนำเอาพระเกษียณทั้งสองนั้นกลับคืนมา และให้เจ้าหน้าที่หน่วยศิลปากรที่หนึ่งไปรวบรวมเอาชิ้นส่วนต่างๆบรรดามีไว้ในวัดพระยากงมาเก็บรักษาไว้ และประกอบพระเศียรทั้งสองนั้นนำไปตั้งไว้ในพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยาจังหวัดพระนครศรีอยุธยาดังมีเรื่องราวเก่าไว้ในเล่มนี้แล้วเว้นวรรคต่อมาเมื่อได้ร่วมกับจังหวัดพระนครศรีอยุธยาเคลื่อนย้ายเอาพระพุทธรูปองค์ที่ตั้งอยู่หน้าพระอุโบสถวัดขุนพรหม(ซึ่งแต่เดิมก็อยู่ในวัดพระยากง) ไปประดิษฐานภายในพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยาจึงปรากฏว่าชิ้นส่วนต่างๆของพระพุทธรูปองค์นั้นมีไม่ครบที่เห็นกันเต็มองนั้นเพราะผู้ปฏิสังขรณ์เอาวัสดุใหม่เค้าใส่แทนแล้วโบกปูนทับไว้ กรมศิลปากรจึงได้ติดต่อกับท่านเจ้าอาวาสวัดพระปฐมเจดีและผู้ว่าราชการจังหวัดนครปฐม ขอรับชิ้นส่วนต่างๆของพระพุทธรูปศิลาขาวจากพระระเบียงคดพระปฐมเจดีใช้ประกอบบ้าง ใช้ชิ้นส่วนที่นำมาจาก วัดพระยากงเข้าประกอบบ้างโดยพิจารณาจากสัดส่วนต่างๆว่าชิ้นไหนเป็นขององไหน ติดตั้งไว้ในพิพิธภัณฑ์สถาน เจ้าสามพระยาหนึ่งองนำมาประกอบประดิษฐานไว้ในพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ พระนครหนึ่งองยังคงเหลือพอที่จะประกอบได้อีกหนึ่งอง ครั้นท่านเจ้าคุณพระธรรมสิริชัย เจ้าอาวาสวัดพระปฐมเจดีได้ทราบเรื่องนี้จึงปรารภกับผู้เขียนว่าในไหนก็ได้นำชิ้นส่วนหลายชิ้นไปจากพระประถมเจดีย์ องที่เหลือนี้ขอคืนกลับมาประกอบไว้ที่พระปฐมเจดีเถิด เมื่อได้ปรึกษาตกลงร่วมกันแล้วจึงนำชิ้นส่วนขององที่เหลือนั้นมาประกอบและประดิษฐานไว้ ณ หลานฉันรถด้านใต้ขององค์พระปฐมเจดีพร้อมกับสร้างบันไดซึ่งแต่ก่อนไม่มีขึ้นไว้ทางด้านใต้ด้วย และเพื่อให้พุทธศาสนิกชนที่มาทำสักการบูชาได้ระลึกถึงไปชั่วกาลนานจึงได้ขนานนามถวายแด่พระพุทธรูปศิลาขาว ศิลปะสมัยทวารวดี องนี้และจารึกบนองแผ่นหินอ่อนติดตั้งไว้ใต้บัวรองพระบาทว่า พระพุทธนราเชษฐ์ เศวตอัศมมัยมุนี ศรีทวารวดีปูชนียบพิตร


หมวด: หนังสือหายาก
หมวดรอง: -
วันที่รับเข้า: 29/03/2018